หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ

Master of Management Program in Integrated Tourism and Hospitality Management

  • การจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ)
  • กจ.ม.(การจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ)
  • Master of Management (Integrated Tourism and Hospitality Management)
  • M.M. (Integrated Tourism and Hospitality Management)
หมวดวิชาหลักสูตรแผน ก1หลักสูตรแผน ก2หลักสูตรแผน ข
วิชาเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาXไม่น้อยกว่า 20 ชม.(ไม่นับหน่วยกิต)ไม่น้อยกว่า 20 ชม.(ไม่นับหน่วยกิต)
หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (เฉพาะภาคปกติ)X9 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต)9 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต)
หมวดวิชาหลักX15 หน่วยกิต15 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอกX9 หน่วยกิต9 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกXX
– บังคับเลือก6 หน่วยกิต
– เลือกเสรี3 หน่วยกิต
วิชาการค้นคว้าอิสระXX3 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์36 หน่วยกิต12 หน่วยกิตX
การสอบประมวลความรู้XXโดยสอบข้อเขียน
รวม36 หน่วยกิต36 หน่วยกิต36 หน่วยกิต

วิชาเตรียมความพร้อม

เป็นวิชาที่ไม่ได้กำหนดหน่วยกิตและไม่นำผลการศึกษามาคำนวนคะแนนเฉลี่ย แต่นักศึกษาต้องเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาในหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ) โดยใช้เวลาเรียนไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง ดังนี้

  • ทท 4000 ภาษาอังกฤษสำหรับการศึกษานโยบาย การวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ
  • วิชาเสริมพื้นฐาน (เฉพาะภาคปกติ)

    เป็นวิชาไม่นับหน่วยกิต และไม่นำผลการศึกษามาคำนวนคะแนนเฉลี่ย นักศึษาจะต้องเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน ในหมวดวิชาเสริมพื้นฐานดังนี้

  • สพ 4000 พื้นฐานสําหรับบัณฑิตศึกษา
  • ภส 4001 การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสําหรับบัณฑิตศึกษา
  • ภส 4001 การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสําหรับบัณฑิตศึกษา
  • ภส 4002 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ
  • ภส 4011 การซ้อมเสริมการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสําหรับบัณฑิตศึกษา
  • ภส 4012 การซ้อมเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ
  • หมายเหตุ
    1. เงื่อนไขในการเรียนวิชาเสริมพื้นฐานภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามประกาศของสถาบัน
    2. การยกเว้นไม่ต้องเรียนวิชาใดในหมวดวิชาเสริมพื้นฐานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่สถาบันกําหนด

    วิชาหลัก

  • ทท 6001 กระบวนทัศน์และจริยธรรมในการดําเนินการทางการท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 6002 พลวัตการจัดการและการพัฒนาการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 6003 การวางแผนธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการโดยใช้นวัตกรรม
  • ทท 6004 นโยบาย การวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
  • ทท 6005 ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับการท่องเที่ยวและบริการ
  • วิชาเอก

    สาขาวิชาเอกนโยบาย การวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ (Integrated Tourism and Hospitality Policy, Planning and Management) กําหนดให้ เรียน 9 หน่วยกิต ทั้งแผน ก2 และ แผน ข ดังนี้

  • ทท 7101 ภูมิปัญญาท่องถิ่นเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวและบริการเชิงสร้างสรรค์
  • ทท 7102 การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานทางการท่องเที่ยว
  • ทท 7103 เศรษฐศาสตร์การท่องเที่ยว
  • สาขาวิชาเอกการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ (Integrated Tourism and Hospitality Management) กําหนดให้เรียน 9 หน่วยกิต ทั้งแผน ก2 และ แผน ข ดังนี้
  • ทท 7201 การจัดการการตลาดในธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 7202 การพัฒนาทุนมนุษย์สําหรับธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 7203 การจัดการเชิงกลยุทธ์สําหรับธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ
  • สาขาวิชาเอกการจัดการธุรกิจโรงแรม (Hotel Management) กําหนดให้เรียน 9 หน่วยกิต ทั้งแผน ก2 และ แผน ข ดังนี้
  • ทท 7301 การจัดการการตลาดในธุรกิจโรงแรม
  • ทท 7302 การพัฒนาทุนมนุษย์สําหรับธุรกิจโรงแรม
  • ทท 7303 การจัดการเชิงกลยุทธ์สําหรับธุรกิจโรงแรม
  • สาขาวิชาเอกการจัดการธุรกิจการบินและการขนส่ง (Airline and Transportation Management) กํำหนดให้เรียน 9 หน่วยกิต ทั้งแผน ก2 และแผน ข ดังนี้
  • ทท 7401 การจัดการการตลาดในธุรกิจการบินและการขนส่ง
  • ทท 7402 การพัฒนาทุนมนุษย์สําหรับธุรกิจการบินและขนส่ง
  • ทท 7403 การจัดการเชิงกลยุทธ์สําหรับธุรกิจการบินและการขนส่ง
  • สาขาวิชาเอกการจัดการธุรกิจบริการ (Hospitality Management) กําหนดให้เรียน 9 หน่วยกิต ทั้งแผน ก2 และแผน ข ดังนี้
  • ทท 7601 การจัดการการตลาดในธุรกิจบริการ
  • ทท 7602 การพัฒนาทุนมนุษย์สําหรับธุรกิจบริการ
  • ทท 7603 การจัดการเชิงกลยุทธ์สําหรับธุรกิจบริการ
  • หมวดวิชาบังคับเลือก

    1. หมวดวิชาบังคับเลือก สําหรับแผน ข จํานวน 6 หน่วยกิต
    1.1 สาขาวิชาเอกนโยบาย การวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ (Integrated Tourism and Hospitality Policy, Planning and Management)

  • ทท 7104 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมสําหรับการท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 7105 การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการเชิงสร้างสรรค์
  • 1.2 สาขาวิชาเอกการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ (Integrated Tourism and Hospitality Management)
  • ทท 7204 การวางแผนทางการเงินและการลงทุนสําหรับธุรกิจการท่องเที่ยว
  • ทท 7205 ความรับผิดชอบทางสังคมสําหรับการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ
  • 1.3 สาขาวิชาเอกการจัดการธุรกิจโรงแรม (Hotel Management)
  • ทท 7304 ประเด็นและความท้าทายในการจัดการธุรกิจโรงแรม
  • ทท 7305 การจัดการผลตอบแทนและรายได้สําหรับธุรกิจโรงแรม
  • 1.4 เอกการจัดการธุรกิจการบินและการขนส่ง (Airline and Transportation Management)
  • ทท 7404 การจัดการคุณภาพบริการขั้นสูงในธุรกิจการบินและการขนส่ง
  • ทท 7405 การจัดการธุรกิจการขนส่ง
  • 1.5 เอกการจัดการธุรกิจบริการ (Hospitality Management)
  • ทท 7604 การจัดการองค์กรภาคบริการ
  • ทท 7605 ประเด็นภาคบริการร่วมสมัย
  • ** หมายเหตุ - หมวดวิชาบังคับเลือกสามารถนํามาเป็นรายวิชาเลือกเสรีสําหรับนักศึกษาในทุกสาขาวิชาเอกได้
    2. หมวดวิชาเลือกเสรี สําหรับแผน ข จํานวน 3 หน่วยกิต (1 รายวิชา)
  • ทท 7501 การประเมินความเสี่ยงและการจัดการวิกฤติสําหรับธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 7502 การพัฒนาทรัพยากรท่องถิ่นสู่ธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการระหว่างประเทศ
  • ทท 7503 ประเด็นกฎหมายธุรกิจและกฎหมายแรงงานทางการท่องเที่ยวในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
  • ทท 7504 การจัดการคุณภาพชีวิตการทํางานและพฤติกรรมองค์กรสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 7505 องค์การแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้สําหรับธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ
  • ทท 7506 การจัดการมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว
  • ทท 7507 การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว
  • ทท 7508 ทิศทางในอนาคตสู่ความยั่งยืน
  • ทท 7509 กลยุทธ์การจัดการอาหารและเครื่องดื่ม
  • ทท 7510 การจัดการดําเนินงานแผนกห้องพักและสิ่งอํานวยความสะดวก
  • ทท 7511 นโยบายการวางแผนการจัดการสนามบินเชิงสร้างสรรค์
  • ทท 7512 พลวัตการจัดการการท่องเที่ยวเรือสําราญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟ์ก
  • ทท 7513 การจัดการโลจิสติกส์และห่งโซ่อุปทานในธุรกิจสายการบิน
  • ทท 7514 การสื่อความหมายทางการท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรม
  • ทท 7515 การจัดการอีเว้นท์และสถานที่จัดงาน
  • ทท 7516 การวางแผนทางการเงินและการลงทุนสําหรับธุรกิจโรงแรม
  • ทท 7517 การจัดการธุรกิจสายการบินท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง
  • ทท 7518 การจัดการการเงินในธุรกิจบริการ
  • ทท 8900 การศึกษาตามแนวแนะ
  • ** หมายเหตุ: นักศึกษาสามารถเลือกวิชาเลือกเสรีอื่นๆ ในสาขาวิชาเอกของตนเอง หรือวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ของหลักสูตรอื่นทั้งในและนอกคณะการจัดการการท่องเที่ยว ทั้งนี้ให้เป็นไปตามคําแนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา และการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเลือกให้เป็นไปตามที่คณะกําหนด

    วิทยานิพนธ์ / ค้นคว้าอิสระ

    หมวดวิชาการค้นคว้าอิสระ (แผน ข)

  • ทท 9000 การค้นคว้าอิสระ 3 หน่วยกิต
  • วิทยานิพนธ์ (แผน ก2)
  • ทท 9004 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
  • วิทยานิพนธ์ (แผน ก1)
  • ทท 9005 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
  • ภาคการศึกษาที่ 1: สิงหาคม - ธันวาคม
    ภาคการศึกษาที่ 2: มกราคม - พฤษภาคม
    ภาคการศึกษาฤดูร้อน: มิถุนายน - กรกฎาคม
    ระยะเวลาเรียนรายวิชา: 4 ภาคการศึกษา
    เปิดรับสมัครนักศึกษา 2 รุ่นต่อปีการศึกษา
    ยกเว้นหลักสูตร English Program เปิดรับสมัครนักศึกษา 1 รุ่นต่อปีการศึกษา

    สาขาวิชาเอก

    วิชาเอกนโยบายการวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ
    วิชาเอกการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ
    วิชาเอกการจัดการธุรกิจโรงแรม
    วิชาเอกการจัดการธุรกิจการบินและการขนส่ง
    วิชาเอกการจัดการธุรกิจบริการ

    คุณสมบัติผู้สมัคร

    เป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเป็นผู้ที่กําลังศึกษาอยู่ในปีสุดท้ายของหลักสูตรปริญญาตรีทุกสาขาจากสถาบันการศึกษาของรัฐ/เอกชนจากสถาบันการศึกษาของรัฐหรือเอกชน ทั้งในและ/หรือต่างประเทศที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) รับรอง
    หมายเหตุ: คุณสมบัติเพิ่มเติมจะแตกต่างไปตามประเภทการสมัคร สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากประกาศการรับสมัครทาง http://edserv.nida.ac.th/th/admission/admissions หรือติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม

    1. ผู้สมัครต้องมีผลการสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษเพื่อประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้าศึกษาในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้
    1.1 TOEFL ตั้งแต่ 500 คะแนนขึ้นไป
    1.2 IELTS ตั้งแต่ 5.5 คะแนนขึ้นไป
    1.3 NIDA TEAP ตั้งแต่ 550 คะแนนขึ้นไป
    2. ผู้สมัครต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งจากสถาบันที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และได้รับเกรดเฉลี่ยในระดับปริญญาตรีตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป

    2.1 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาใดสาขาหนึ่ง จากสถาบันการศึกษาของรัฐบาลหรือเอกชนทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ที่ได้รับการรับรองคุณวุฒิจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    2.2 มีประสบการณ์ในการทำงานไม่น้อยกว่า 1 ปี (โดยนับประสบการณ์ในการทำงานถึงวันเปิดภาคการศึกษา)
    2.3 มีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชาว่าผู้สมัครได้ทำงานในตำแหน่งและมีประสบการณ์การทำงานตามระยะเวลาที่ระบุไว้ในใบสมัครจริง
    2.4 สามารถอุทิศเวลาให้กับการศึกษาค้นคว้าตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร (ภาคพิเศษ) ได้
    2.5 สำหรับผู้สมัครหลักสูตรแผน ก1 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต ต้องมีความรู้ด้านการวิจัยในระดับดี หรือมีประสบการณ์ดำเนินการวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง โดยมีภาระงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 หรือมีผลงานตีพิมพ์ลงในวารสารทางวิชาการอย่างน้อย 1 เรื่อง โดยได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานที่ได้รับการยอมรับ

    ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

     
    ปริญญาโท ภาคปกติ (เรียนวันธรรมดา)98,500 บาท *ไม่รวมค่าหนังสือ, **
    ปริญญาโท ภาคปกติ English Program (เรียนวันธรรมดา)189,400 บาท**
    ปริญญาโท ภาคพิเศษ (เรียนวันเสาร์-อาทิตย์)177,900 บาท**
    ปริญญาโท ภาคพิเศษ (เรียนวันเสาร์-อาทิตย์) ศูนย์ภูเก็ต174,900 บาท**
    ปริญญาโท ภาคพิเศษ English Program ศูนย์ภูเก็ต229,100 บาท**
    **หมายเหตุ: อัตราค่าเทอมสำหรับคนไทย